1. กรรมที่ไม่มีลูก กรรมจาก การทำร้ายลูกของสัตว์อื่น พรากสัตว์อื่นจากพ่อแม่หรือเคยข่มเหงลูกคนอื่น ลดกรรม ด้วยการงดกินเนื้อสัตว์ทุกๆ 7 วัน ในทุกๆเดือนทำบุญปล่อยปลาลงน้ำ ปล่อยนกปล่อยกา ทำบุญบริจาคทานที่มูลนิธิสัตว์หรือ มูลนิธิเด็กอ่อน
2. เจ็บป่วยบ่อย หรือเป็นโรคร้าย กรรมจาก เคยทำทารุณกรรมต่อสัตว์ ลดกรรม ด้วยการทำบุญทำทานกับสัตว์อนาถา ให้อาหารให้ความเมตตา ซื้อยาหรือบริจาคเงินที่โรงพยาบาลสงฆ์ ทำบุญปล่อยเต่า งดกินเนื้อสัตว์ตลอดชีวิต
3. ตาบอดหรือเป็นโรคตา กรรมจาก เคยทำร้ายสัตว์ที่ดวงตา หรือไม่เคยทำบุญเติมน้ำมันตะเกียงในชาติก่อน หรือเคยทำลายไฟฟ้าของวัด ของที่สารธารณะ ลดกรรม ซื้อโคมไฟ หลอดไฟถวายวัด ถวายเทียนห่อใหญ่ ถวายไฟฉาย เติมน้ำมันตะเกียงทุกวันพร! ะ บริจาคเงินในกล่อง ซื้อน้ำมันเติมตะเกียงที่วัด
4. ถูกรถเฉี่ยวชน ถูกลูกหลง ถูกสัตว์กัดต่อย กรรมจาก จากเคยเป็นคนพาลเกะกะเกเร หาเรื่องเดือดร้อนให้ผู้อื่น มักรังแกและสาปแช่งผู้อื่นอยู่เสมอ ลดกรรม หมั่นพูดดี มีวาจาไพเราะ
5. สูญเสียคนใกล้ชิด กรรมจาก เคยยิงนกตกปลา ลดกรรม ทำบุญไถ่ชีวิตโค กระบือ งดกินเนื้อสัตว์อย่างน้อยสัก 1 อย่างชั่วชีวิต หรือกินเจทุกๆ 3 เดือน ทำบุญปล่อยนกปล่อยปลา
6.ถูกนินทา ถูกให้ร้าย กรรมจาก เคยพูดจาให้เป็นเหตุให้คนอื่นเป็นทุกข์หรือเดือดร้อน ลดกรรม พิมพ์หนังสือธรรมะแจกฟรี พูดดี พูดให้คนอื่นเกิดประโยชน์ พูดให้ผู้อื่นมีความสุข
7. มักเดือดร้อนเพราะไฟ ไฟไหม้บ้าน ไฟดูด กรรมจาก เคยลบหลู่พระสงฆ์ และศาสนา ลดกรรม ตักบาตรทุกวันพระ ทำบุญถวายสังฆทานทุกเดือน ฟังเทศน์ฟังธรรมทุกวันพระ หรือทุกๆเดือนในวันพระ ร่วมพิมพ์หนังสือ ธรรมะแจกจ่ายฟรี
8. ขาดบารมี ไร้ญาติขาดมิตร กรรมจาก ไม่เคยไปร่วมงานบุญงานศพ ลดกรรม ร่วมทำบุญงานศพ บริจาคเงิน หรือร่วมด้วยแรงกายช่วยงานอื่นๆในงานศพ เช่นทำอาหาร จัดดอกไม้
9. ตั้งหลักปักฐานไม่ได้ โยกย้ายบ่อย กรรมจาก ไม่เคยร่วมทำบุญสร้างโบสถ์สร้างวิหาร แก่วัดวาอารามต่างๆ ลดกรรม ร่วมทำบุญสร้างโบสถ์ สร้างหลังคาวิหาร ร่วมทำบุญฝังลูกนิมิต หมั่นไปไหว้ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง ณ เมืองที่ตนอยู่อาศัย
10. มักถูกรังแก ถูกเบียดเบียน กรรมจาก ไม่เคยบวช หรือทำบุญงานบวช ลดกรรม บวช ด้วยจิตศรัทธาปวารถาอย่างบริสุทธิ์ไม่มีเจตนาอื่นแอบแฝงจะบวช 7 วัน หรือ 15 วัน 1 เดือน 1 พรรษา แล้วแต่ จิตศรัทธา ถ้าเป็นสตรีจะบวชชีพราหมณ์ หรือถือศีล 8 ตามเวลาที่สะดวกและตั้งจิตศรัทธา หรือร่วมทำบุญงานบวชอย่าง สม่ำเสมอเท่าที่จะทำได้
11.ไม่มีคนชื่นชมเอ็นดู ชาดเสน่ห์ กรรมจาก ไม่เคยถวายของหอม ลดกรรม หมั่นทำบุญไหว้พระทุกวันพระ ถวายธูปหอม เทียน ดอกไม้สด พวงมาลัย ทองคำเปลว ประน้ำอบน้ำปรุง ประพฤติดี ปฏิบัติชอบต่อผู้อื่น คิดดี ทำดี พูดดี ให้ผู้อื่นได้ดี มิให้ร้ายผู้ใด
12. เป็นที่รังเกียจ มีกลิ่นปาก กลิ่นตัว กรรมจาก ทำติเตียนดูแคลน ผู้ที่ชอบทำบุญทำทาน ลดกรรม หมั่นทำบุญทำทานอย่างสม่ำเสมอ ฟังเทศน์มหาชาติทุกๆปี ชักชวนผู้อื่นให้ร่วมทำบุญหรือบริจาคทานเป็นการบอกบุญผู้อื่น พิมพ์หนังสือธรรมะจ่ายแจกฟรี
21 มิถุนายน 2552
20 มิถุนายน 2552
ฝันเห็น อ.หนู กันภัย เมื่อรุ่งสาง
เมื่อรุ่งสางใกล้สว่าง ผมฝันแปลกๆ และเชื่อว่าเป็นเรื่องที่ดี
แม้ว่ามีผู้แบ่งสาเหตุแห่งการฝันว่าเป็นเพราะ บุพนิมิต จิตนิวร เทพสังหรณ์ ธาตุกำเริบ ผมเองก็ไม่รู้ว่าของผมจะจัดอยู่ในประเภทไหน เพราะเมื่อย้อนกลับไปดูพฤติกรรมเมื่อวาน ก็มีข้อมูลดังนี้
1. ไม่ได้กินมากกว่าปกติ เพราะวันที่ 19 ไปกินเลี้ยงมา หากจะฝันเพราะกินมาก คงเป็นเช้าเมื่อวานมากกว่า
2. ไม่ได้คิดถึงเรื่อง อ. หนู กันภัย เลย เพราะทำงานทั้งวัน และกลับมาถึงบ้านก็เหนื่อยมาก ดูหนังแล้วก็นอน
3. หนังที่ดู ก็เป็นเรื่องทั่วไป ไม่เกี่ยวกับ อ.หนู หรือยันต์ห้าแถวเลย
ในเมื่อวิเคราะห์แล้ว ก็ตัดประเด็นกินมาก คิดมาก ออกไป
... และมาดูว่า ฝันว่าอะไร
(เป็นความฝันของผม มิได้เจตนาอื่นใด และอยากเขียนไว้อ่านในอนาคตว่าฝันวันที่เท่าไร ฝันว่าอย่างไร นานมาแล้วฝันเห็นหลวงปู่ชาเดินมาบอกผมซึ่งนั่งอยู่ตรงขั้นบันไดของวัดหนองป่าพง แล้วกล่าว "เจ้าแชมป์ ทำดีแล้ว จงทำต่อไป" เสียดายที่เครื่องมือที่บันทึกไว้พัง เสียดายครับ)
ผมฝันว่า ได้เข้าร่วมพิธีอะไรบางอย่างที่วัดแห่งหนึ่ง ค่อนข้างเก่า รูปทรงสมัยโบราณ ในปรัมพิธีนั้น มี อ.หนู กันภัย ได้เดินพระพรมน้ำมนต์ แล้วมีใครก็ไม้รู้ นำสายคล้ายที่คาดผม แต่มีอักขระจำนวนหนึ่งเอามาให้ผม แล้วบอกให้เดินตามอาจารย์หนู หากท่านจะให้ใคร ท่านจะเอื้อมมือมาหยิบไป
สักพักของในมือหมด ก็มีคนนำสายคล้ายอันเดิมแต่มีขนาดเล็กกว่า ประมาณริทแบนด์ (สายข้อมือที่ฮิตสวมใส่ตอนงาน 60 ปี ในหลวง) พอเดินไปสักพัก ก็เสร็จพิธี มีเหลืออยู่ 1 อัน ผมเลยเอาใส่ข้อมือไว้ (จำได้ว่ามือซ้าย)
แล้วผมก็เดินทะลุหลังวัดเก่ามา พบเรือนไม้เก่าๆ ก็เดินขึ้นไป นั่งเล่นสักพักก็พบว่า อาจารย์หนู กันภัย ก็เดินมา ท่านนั่งอยู่บนเก้าอี้แล้วสอบถามอะไรผม 2 - 3 ข้อ ก่อนถาม อ.หนู จะนั่งหลับตาแล้วถาม เสร็จแล้วก็ถามว่า ได้รับของหรือยัง ผมบอกว่า ได้แล้วครับ แล้วชูมือให้ดู ท่านก็ให้เข้ามาใกล้ๆ แล้วบอกว่า เอาอันนี้ไปเพิ่ม เป็นเหรียญพลาสติกหนาๆ ลักษณะคล้ายตัวโดมิโน มีตัวเลขที่เป็นจุด 2 ด้าน ตอนนั้นดีใจ เลยไม่ได้ดูว่า แต่ละด้านมีกี่จุด ไม่งั้นคงได้ ... 2 ตัว อิอิ
เมื่อมัดแล้ว อ.หนู กันภัย ก็สวดคาถายาวมาก แล้วก็มีแขกขึ้นมา อาจารย์เลยขอไปรับแขก ผมนั่งอยู่ที่เดินก็มองเห็นคนวัยกลางคนหลายคน มองไปมองมาเจอพี่ที่โรงเรียน ก็เลยเข้าไปทักแล้วโชว์ของดีที่ได้มา พอพูดคุยสักพักก็ลากลับ
จากนั้น ก็พบว่า(ในฝันต่อนะครับ) ผมนั่งรถมากับ ผอ. โรงเรียนผม มาที่โรงเรียนแห่งขึ้น เป็นโรงเรียนใหญ่พอสมควร พบว่า ชื่อผมได้อยู่ในคำสั่งให้เก็ยหลักงานการเข้างานของ สสวท. (เห็นชัดจริงๆนะครับ) แล้ว ผอ.ผม พูดกับ ผอ. โรงเรียนนั้นมา ทำไมปมไม่รู้ล่วงหน้า นี่เหลือเวลาอีกวันจะทันเหรอ
ได้ยินแค่นั้นดีใจสุดๆ แสดงว่า ผมได้ย้ายโรงเรียน 555
จากนั้นก็สะดุ้งตื่นเพราะเสียงปลุกของมือถือ
ผมถืดว่าเป็นฝันดี ทั้งๆที่ไม่ได้ฝันมานานแล้ว วันไหนที่คิด ที่อธิษฐาน กลับไม่ฝัน แปลกนะครับ
ป.ล. เป็นเรื่องของความฝันนะครับ ผมบันทึกไว้เพื่ออ่านเองในอนาคต
แม้ว่ามีผู้แบ่งสาเหตุแห่งการฝันว่าเป็นเพราะ บุพนิมิต จิตนิวร เทพสังหรณ์ ธาตุกำเริบ ผมเองก็ไม่รู้ว่าของผมจะจัดอยู่ในประเภทไหน เพราะเมื่อย้อนกลับไปดูพฤติกรรมเมื่อวาน ก็มีข้อมูลดังนี้
1. ไม่ได้กินมากกว่าปกติ เพราะวันที่ 19 ไปกินเลี้ยงมา หากจะฝันเพราะกินมาก คงเป็นเช้าเมื่อวานมากกว่า
2. ไม่ได้คิดถึงเรื่อง อ. หนู กันภัย เลย เพราะทำงานทั้งวัน และกลับมาถึงบ้านก็เหนื่อยมาก ดูหนังแล้วก็นอน
3. หนังที่ดู ก็เป็นเรื่องทั่วไป ไม่เกี่ยวกับ อ.หนู หรือยันต์ห้าแถวเลย
ในเมื่อวิเคราะห์แล้ว ก็ตัดประเด็นกินมาก คิดมาก ออกไป
... และมาดูว่า ฝันว่าอะไร
(เป็นความฝันของผม มิได้เจตนาอื่นใด และอยากเขียนไว้อ่านในอนาคตว่าฝันวันที่เท่าไร ฝันว่าอย่างไร นานมาแล้วฝันเห็นหลวงปู่ชาเดินมาบอกผมซึ่งนั่งอยู่ตรงขั้นบันไดของวัดหนองป่าพง แล้วกล่าว "เจ้าแชมป์ ทำดีแล้ว จงทำต่อไป" เสียดายที่เครื่องมือที่บันทึกไว้พัง เสียดายครับ)
ผมฝันว่า ได้เข้าร่วมพิธีอะไรบางอย่างที่วัดแห่งหนึ่ง ค่อนข้างเก่า รูปทรงสมัยโบราณ ในปรัมพิธีนั้น มี อ.หนู กันภัย ได้เดินพระพรมน้ำมนต์ แล้วมีใครก็ไม้รู้ นำสายคล้ายที่คาดผม แต่มีอักขระจำนวนหนึ่งเอามาให้ผม แล้วบอกให้เดินตามอาจารย์หนู หากท่านจะให้ใคร ท่านจะเอื้อมมือมาหยิบไป
สักพักของในมือหมด ก็มีคนนำสายคล้ายอันเดิมแต่มีขนาดเล็กกว่า ประมาณริทแบนด์ (สายข้อมือที่ฮิตสวมใส่ตอนงาน 60 ปี ในหลวง) พอเดินไปสักพัก ก็เสร็จพิธี มีเหลืออยู่ 1 อัน ผมเลยเอาใส่ข้อมือไว้ (จำได้ว่ามือซ้าย)
แล้วผมก็เดินทะลุหลังวัดเก่ามา พบเรือนไม้เก่าๆ ก็เดินขึ้นไป นั่งเล่นสักพักก็พบว่า อาจารย์หนู กันภัย ก็เดินมา ท่านนั่งอยู่บนเก้าอี้แล้วสอบถามอะไรผม 2 - 3 ข้อ ก่อนถาม อ.หนู จะนั่งหลับตาแล้วถาม เสร็จแล้วก็ถามว่า ได้รับของหรือยัง ผมบอกว่า ได้แล้วครับ แล้วชูมือให้ดู ท่านก็ให้เข้ามาใกล้ๆ แล้วบอกว่า เอาอันนี้ไปเพิ่ม เป็นเหรียญพลาสติกหนาๆ ลักษณะคล้ายตัวโดมิโน มีตัวเลขที่เป็นจุด 2 ด้าน ตอนนั้นดีใจ เลยไม่ได้ดูว่า แต่ละด้านมีกี่จุด ไม่งั้นคงได้ ... 2 ตัว อิอิ
เมื่อมัดแล้ว อ.หนู กันภัย ก็สวดคาถายาวมาก แล้วก็มีแขกขึ้นมา อาจารย์เลยขอไปรับแขก ผมนั่งอยู่ที่เดินก็มองเห็นคนวัยกลางคนหลายคน มองไปมองมาเจอพี่ที่โรงเรียน ก็เลยเข้าไปทักแล้วโชว์ของดีที่ได้มา พอพูดคุยสักพักก็ลากลับ
จากนั้น ก็พบว่า(ในฝันต่อนะครับ) ผมนั่งรถมากับ ผอ. โรงเรียนผม มาที่โรงเรียนแห่งขึ้น เป็นโรงเรียนใหญ่พอสมควร พบว่า ชื่อผมได้อยู่ในคำสั่งให้เก็ยหลักงานการเข้างานของ สสวท. (เห็นชัดจริงๆนะครับ) แล้ว ผอ.ผม พูดกับ ผอ. โรงเรียนนั้นมา ทำไมปมไม่รู้ล่วงหน้า นี่เหลือเวลาอีกวันจะทันเหรอ
ได้ยินแค่นั้นดีใจสุดๆ แสดงว่า ผมได้ย้ายโรงเรียน 555
จากนั้นก็สะดุ้งตื่นเพราะเสียงปลุกของมือถือ
ผมถืดว่าเป็นฝันดี ทั้งๆที่ไม่ได้ฝันมานานแล้ว วันไหนที่คิด ที่อธิษฐาน กลับไม่ฝัน แปลกนะครับ
ป.ล. เป็นเรื่องของความฝันนะครับ ผมบันทึกไว้เพื่ออ่านเองในอนาคต
19 มิถุนายน 2552
ส่งครูสุมณฑา
และแล้ว เพื่อร่วมงานก็จากไปอีกคน
แต่เป็นการจากไปในที่ๆดี จากไปในที่ๆหวังไว้ (เหมือนกันที่เราเองก็มีความหวัง)
มันเป็นสิ่งที่กระตุ้นเตือนใจว่า อาชีพนี้ ไม่มีอะไรที่แน่นอน แม้แต่การทำงาน
ต่อให้ทำดีแค่ไหน ถ้าขัดใจนายขึ้นมาก็ไม่มีหวังเจริญ
(เว้นแต่ เราเส้นใหญ่กว่า ดักตีนายเมื่อภายหลัง 555...ว่าไป)
ครูสุมณฑา ศรีสมบุญ มาบรรจุหลังผมประมาณเกือบปี
เธอเป็นคนที่มีความตั้งใจ ละเอียด และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
อาจเป็นเพราะความที่ได้สอนที่โรงเรียนเอกชนมาก่อน ทุกอย่างต้องเปะ
เนี๊ยบ (ไม่เหมือนผม ขี้เกียจเอามากๆๆๆๆๆ)
เอาเถิด ขอให้พี่ไปเริ่มชีวิตราชการในโรงเรียนที่ใกล้บ้าน มีเจ้านายและเพื่อนร่วมงานที่ดี
และมีความสุข
เหมือนกับที่หลายๆคนปรารถนาไว้
แต่เป็นการจากไปในที่ๆดี จากไปในที่ๆหวังไว้ (เหมือนกันที่เราเองก็มีความหวัง)
มันเป็นสิ่งที่กระตุ้นเตือนใจว่า อาชีพนี้ ไม่มีอะไรที่แน่นอน แม้แต่การทำงาน
ต่อให้ทำดีแค่ไหน ถ้าขัดใจนายขึ้นมาก็ไม่มีหวังเจริญ
(เว้นแต่ เราเส้นใหญ่กว่า ดักตีนายเมื่อภายหลัง 555...ว่าไป)
ครูสุมณฑา ศรีสมบุญ มาบรรจุหลังผมประมาณเกือบปี
เธอเป็นคนที่มีความตั้งใจ ละเอียด และมีความเชื่อมั่นในตนเอง
อาจเป็นเพราะความที่ได้สอนที่โรงเรียนเอกชนมาก่อน ทุกอย่างต้องเปะ
เนี๊ยบ (ไม่เหมือนผม ขี้เกียจเอามากๆๆๆๆๆ)
เอาเถิด ขอให้พี่ไปเริ่มชีวิตราชการในโรงเรียนที่ใกล้บ้าน มีเจ้านายและเพื่อนร่วมงานที่ดี
และมีความสุข
เหมือนกับที่หลายๆคนปรารถนาไว้
18 มิถุนายน 2552
คาถาเรียกความมั่งคั่ง
คาถาเรียกความมั่งคั่งจาก Supplement – Secret to Wealth & Prosperity ฉบับที่ 1 – 10 กรกฎาคม 2551
*****************************************
คาถาปัจเจกโพธิ์โปรดสัตว์
(ตั้งนะโม 3 จบ)
พุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระยะโยวิระทะโย วิระโคนายัง วิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสาวิระอิตถิโย พุทธัสสะ มานี มามะ พุทธัสสะ สวาโหม*****************************************คาถาบูชาพระสีวลี
(ตั้งนะโม 3 จบ)
สีวะลี จะ มหาเถโร เทวะตานะระปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ ตัง สะทาสีวะลี จะ มหาเถโร ยักขาเทวาภิปูชิโต โสระโห ปัจจะยาทิมหิ อะหัง วันทามิ ตัง สะทาสีวะลี เถระคุณัง เอตัง โสตถิ ลาภัง ภะวันตุ เมฯ*****************************************
คาถาบูชาพระสังกัจจายน์
(ตั้งนะโม 3 จบ)
สังกัจจายะโน มะหาเถโร มะหาลาโภ นิรันตะรังวันทามิตัง สิเรนะหัง ลาภานิจจัง ภะวันตุเมฯ*****************************************
คาถาเงินล้านจากคอลัมน์ My Secret – คาถาแห่งความร่ำรวยและความสำเร็จ ฉบับที่ 1 – 10 กรกฎาคม 2551
นาสังสิโมพรหมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติพรหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุ เมมหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เมมิเตพาหุหะติพุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายังวิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะมานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหมสัมปะติจฉามิเพ็ง เพ็ง พา พา หา หา ฤา ฤา*****************************************
คาถาเงินล้านจากคอลัมน์ My Secret – คาถาแห่งความร่ำรวยและความสำเร็จ ฉบับที่ 1 – 10 กรกฎาคม 2551
นาสังสิโมพรหมา จะ มหาเทวา สัพเพยักขา ปะรายันติพรหมา จะ มหาเทวา อภิลาภา ภะวันตุ เมมหาปุญโญ มหาลาโภ ภะวันตุ เมมิเตพาหุหะติพุทธะมะอะอุ นะโมพุทธายะ วิระทะโย วิระโคนายังวิระหิงสา วิระทาสี วิระทาสา วิระอิตถิโย พุทธัสสะมานีมามะ พุทธัสสะ สวาโหมสัมปะติจฉามิเพ็ง เพ็ง พา พา หา หา ฤา ฤา*****************************************
17 มิถุนายน 2552
ขันธปริตร
ขันธปริตร(สวดเพื่อปกป้องตนเองจาก งูพิษ และสัตว์ร้ายทั้งหลาย)วิรูปักเขหิ เม เมตตังความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลาย สกุลวิรูปักข์ด้วยเมตตัง เอราปะเถหิ เม ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับพญางูทั้งหลาย สกุลเอราบทด้วยฉัพยาปุตเตหิ เม เมตตัง ความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลาย สกุลฉัพยาบุตรด้วยเมตตัง กัณหาโคตะมะเกหิ จะ ความเป็นมิตรของเรา จงมีแก่พญางูทั้งหลายสกุลกัณหาโคตมกะด้วยอะปาทะเกหิ เม เมตตัง ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่ไม่มีเท้าด้วยเมตตัง ทิปาทะเกหิ เม ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีสองเท้าด้วยจะตุปปะเทหิ เม เมตตังความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีสี่เท้าด้วย เมตตัง พะหุปปะเทหิ เม ความเป็นมิตรของเรา จงมีกับสัตว์ทั้งหลาย ที่มีหลายเท้าด้วยมา มัง อะปาทะโก หิงสิ สัตว์ไม่มีเท้าอย่าเบียดเบียนเรา มา มัง หิงสิ ทิปาทะโก สัตว์สองเท้าอย่าเบียดเบียนเรา มา มัง จะตุปปะโท หิงสิ สัตว์สี่เท้าอย่าเบียดเบียนเรา มา มัง หิงสิ พะหุปปะโท สัตว์หลายเท้าอย่าเบียดเบียนเรา สัพเพ สัตตา สัพเพ ปาณา ขอสรรพสัตว์ที่มีชีวิตทั้งหลาย สัพเพ ภูตา จะ เกวะลา ที่เกิดมาทั้งหมดจนสิ้นเชิงด้วย สัพเพ ภัทรานิ ปัสสันตุ จงเห็นซึ่งความเจริญทั้งหลายทั้งปวงเถิด มา กิญจิ ปาปะมาคะมา โทษลามกใดๆ อย่าได้มาถึงแล้ว แก่สัตว์เหล่านั้นอัปปะมาโณ พุทโธ พระพุทธเจ้า ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณอัปปะมาโณ ธัมโม พระธรรม ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณอัปปะมาโณ สังโฆ พระสงฆ์ ทรงพระคุณ ไม่มีประมาณปะมาณะวันตานิ สิริงสะปานิ อะหิ วิจฉิกา สะตะปะที อุณณานาภี สะระพู มูสิกาสัตว์เลื้อยคลานทั้งหลาย คือ งู แมลงป่อง ตะเข็บ ตะขา แมงมุม ตุ๊กแก หนูเหล่านี้ ล้วนมีประมาณ (ไม่มากเหมือนพระรัตนตรัย)กะตา เม รักขา กะตา เม ปะริตตา ความรักษา อันเรากระทำแล้ว การป้องกัน อันเรากระทำแล้วปะฏิกกะมันตุ ภูตานิ หมู่สัตว์ทั้งหลายจงหลีกไปเสียโสหัง นะโม ภะคะวะโต เรานั้น กระทำนอบน้อม แด่พระผู้มีพระภาคเจ้าอยู่นะโม สัตตันนัง สัมมาสัมพุทธานังฯกระทำนอบน้อม แด่พระสัมมาสัมพุทธเจ้า เจ็ดพระองค์อยู่ ฯ
16 มิถุนายน 2552
ธชัคคปริตร (ธะชัคคะสุตตัง)
ธชัคคปริตร (ธะชัคคะสุตตัง)
(สวดเมื่อมีเหตุจะต้องขึ้นที่สูง)
เอวัม เม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะฯ ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพยุฬ โห อะโหสิ ฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานัง สังคา มะคะตานัง อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปิหิยยิสสะติ โน เจ เม ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกย ยาถะ ปะชาปะติสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ วะรุณัสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิส สะติ โน เจ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโล เกยยาถะ อีสานัสสะ หิโว เทวะ ราาชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีติฯ ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะ มินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วาโส ปะหิยเยถาปิ โนปิ ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะเหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภิรุ ฉัมภี อุตราสี ปะลายีติฯ อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากัง ภิกขะเว อะรัญญะคะตานัง วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย อันุสสะเรยยาถะ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ธัมมัง หิโว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณะโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ ตัง กิสสะ เหตุ ตะถา คะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วีตะราโค วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุตราสี อะปะ ลายีติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทัง วตวานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ ภิกขะโว อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะ เชฏฐัง นะราสะภัง อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ฯ
(สวดเมื่อมีเหตุจะต้องขึ้นที่สูง)
เอวัม เม สุตังฯ เอกัง สะมะยัง ภะคะวา สาวัตถิยัง วิหะระติ เชตะวะเน อะนาถะปิณฑิกัสสะ อาราเม ฯ ตัตระ โข ภะคะวา ภิกขู อามันเตสิ ภิกขะโวติ ฯ ภะทันเตติ เต ภิกขู ภะคะวะโต ปัจจัสโสสุง ฯ ภะคะวา เอตะทะโวจะฯ ภูตะปุพพัง ภิกขะเว เทวาสุระสังคาโม สะมุปัพยุฬ โห อะโหสิ ฯ อะถะโข ภิกขะเว สักโก เทวานะมินโท เทเว ตาวะติงเส อามันเตสิ สะเจ มาริสา เทวานัง สังคา มะคะตานัง อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ มะมัง หิ โว ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปิหิยยิสสะติ โน เจ เม ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกย ยาถะ ปะชาปะติสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ปะชาปะติสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลเกยยาถะ อะถะ วะรุณัสสะ หิโว เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิส สะติ โน เจ วะรุณัสสะ เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโล เกยยาถะ อีสานัสสะ หิโว เทวะ ราาชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะตีติฯ ตัง โข ปะนะ ภิกขะเว สักกัสสะ วา เทวานะ มินทัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ปะชาปะติสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง วะรุณัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง อีสานัสสะ วา เทวะราชัสสะ ธะชัคคัง อุลโลกะยะตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วาโส ปะหิยเยถาปิ โนปิ ปะหิยเยถะ ตัง กิสสะเหตุ สักโก หิ ภิกขะเว เทวานะมินโท อะวีตะราโค อะวีตะโทโส อะวีตะโมโห ภิรุ ฉัมภี อุตราสี ปะลายีติฯ อะหัญจะ โข ภิกขะเว เอวัง วะทามิ สะเจ ตุมหากัง ภิกขะเว อะรัญญะคะตานัง วา รุกขะมูละคะตานัง วา สุญญาคาระคะตานัง วา อุปปัชเชยยะ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา มะเมวะ ตัสมิง สะมะเย อันุสสะเรยยาถะ อิติปิ โส ภะคะวา อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู อะนุตตะโร ปุริสะทัมมะสาระถิ สัตถา เทวะมะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ มะมัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ มัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏฐิโก อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง เวทิตัพโพ วิญญูหีติ ธัมมัง หิโว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ โน เจ ธัมมัง อะนุสสะเรยยาถะ อะถะ สังฆัง อะนุสสะเรยยาถะ สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะ กะสังโฆ อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ญายะ ปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณะโย อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ สังฆัง หิ โว ภิกขะเว อะนุสสะระตัง ยัมภะวิสสะติ ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส วา โส ปะหิยยิสสะติ ตัง กิสสะ เหตุ ตะถา คะโต หิ ภิกขะเว อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ วีตะราโค วีตะโทโส วีตะโมโห อะภิรุ อัจฉัมภี อะนุตราสี อะปะ ลายีติฯ อิทะมะโวจะ ภะคะวา อิทัง วตวานะ สุคะโต อะถาปะรัง เอตะทะโวจะ สัตถา อะรัญเญ รุกขะมูเล วา สุญญาคาเรวะ ภิกขะโว อะนุสสะเรถะ สัมพุทธัง ภะยัง ตุมหากะ โน สิยา โน เจ พุทธัง สะเรยยาถะ โลกะ เชฏฐัง นะราสะภัง อะถะ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง โน เจ ธัมมัง สะเรยยาถะ นิยยานิกัง สุเทสิตัง อะถะ สังฆัง สะเรยยาถะ ปุญญักเขตตัง อะนุตตะรัง เอวัมพุทธัง สะรันตานัง ธัมมัง สังฆัญจะ ภิกขะโว ภะยัง วา ฉัมภิตัตตัง วา โลมะหังโส นะ เหสสะตีติ ฯ
15 มิถุนายน 2552
ผิดด้วยหรือ ที่ไม่ได้ btc
มีคนบอกว่า ทำไม ผมจึงไม่เรียนวุฒิลูกเสือ
แหม
ก็ตอนที่ผมเรียนปริญญาตรี ผมเรียนตั้ง 151 หน่วยกิต แต่สาขาวิชาอื่น เค้าเรียนแต่ 148 เอง เค้าเลยมีอบรมวิชาลูกเสือ
จริงๆแล้ว ผมอยากสอน นศท. หรือที่เรียกว่า ร.ด. นั่นเอง
ผมว่า ผมไม่เหมาะกับการสอนลูกเสือ เพราะเด็กๆ ยังเล็กเกินกว่าจะฝึกหัดหลายๆอย่างได้
การโผ
การรุก
การตี
การถอยร่น
การตีโฉบฉวย
การตีแบบกองโจร
การปฏิบัติการทางจิตวิทยา
แหมๆๆๆๆๆ แล้วจะสอนลูกเสือได้ไหมเนี่ย
แหม
ก็ตอนที่ผมเรียนปริญญาตรี ผมเรียนตั้ง 151 หน่วยกิต แต่สาขาวิชาอื่น เค้าเรียนแต่ 148 เอง เค้าเลยมีอบรมวิชาลูกเสือ
จริงๆแล้ว ผมอยากสอน นศท. หรือที่เรียกว่า ร.ด. นั่นเอง
ผมว่า ผมไม่เหมาะกับการสอนลูกเสือ เพราะเด็กๆ ยังเล็กเกินกว่าจะฝึกหัดหลายๆอย่างได้
การโผ
การรุก
การตี
การถอยร่น
การตีโฉบฉวย
การตีแบบกองโจร
การปฏิบัติการทางจิตวิทยา
แหมๆๆๆๆๆ แล้วจะสอนลูกเสือได้ไหมเนี่ย
สมการรวยแน่นอน
สมการรวยแน่นอน
ว่าแต่จะทำได้ไหมเนี่ย พวกเรายิ่งเป็นครูบ้านนอกจนๆอยู่ด้วย
สมการคนรวย
รายได้ - เงินออม = รายจ่าย
แต่เดิม
รายได้ - รายจ่าย = เงินออม
เมื่อมีรายได้ เอามาหักค่าใช้จ่าย จึงเป็นเงินออม ทำให้มีตัวเลือกใช้จ่ายมาก แต่พอให้สมการใหม่ มันก็ตอยคำถามว่า ตกลง เราควรจะใช้จ่ายเท่าไรกันแน่
ใครรวยแล้ว เอาไปทำบุญ ทำกุศลด้วยนะครับ
ว่าแต่จะทำได้ไหมเนี่ย พวกเรายิ่งเป็นครูบ้านนอกจนๆอยู่ด้วย
สมการคนรวย
รายได้ - เงินออม = รายจ่าย
แต่เดิม
รายได้ - รายจ่าย = เงินออม
เมื่อมีรายได้ เอามาหักค่าใช้จ่าย จึงเป็นเงินออม ทำให้มีตัวเลือกใช้จ่ายมาก แต่พอให้สมการใหม่ มันก็ตอยคำถามว่า ตกลง เราควรจะใช้จ่ายเท่าไรกันแน่
ใครรวยแล้ว เอาไปทำบุญ ทำกุศลด้วยนะครับ
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ให้คะแนนข้อเขียนนี้...คุณจะให้กี่ดาวดีจ๊ะ