ข้อมูลจากเว็บ ดินแดนปัญญาชน นะครับ
08 กรกฎาคม 2552
07 กรกฎาคม 2552
06 กรกฎาคม 2552
โครงการ "แกมลิง"
ทฤษฎีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามแนวทางการบริหารจัดการด้านน้ำท่วมล้น (Flood Management) พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้มีพระมหากรุณาธิคุณพระราชทานแนวพระราชดำริแก้ไขปัญหาน้ำท่วมกรุงเทพมหานคร ไว้ 5 แนวทาง คือ
ประการแรก สร้างคันกั้นน้ำ โดยปรับปรุงแนวถนนเดิมประการที่สอง จัดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) ตามพระราชดำริ เพื่อกันการขยายตัวของเมือง และเพื่อแปรสภาพให้เป็นทางระบายน้ำเมื่อมีน้ำหลาก ประการที่สาม ดำเนินการขุดลอกคลอง ขยายคลองที่มีอยู่เดิมและขุดใหม่นอกแนวคันกั้นน้ำ ประการที่สี่ สร้างสถานที่เก็บน้ำตามจุดต่าง ๆ ประการที่ห้า ขยายช่องทางรับน้ำที่ผ่านทางรถไฟและทางหลวง
วิธีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในภูมิภาคต่าง ๆ คือ 1. การก่อสร้างคันกันน้ำ โดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้ำขนานไปตามลำน้ำเพื่อป้องกันมิให้น้ำล้นตลิ่งไปท่วมในพื้นที่ต่าง ๆ ด้านใน 2. การก่อสร้างทางผันน้ำ เพื่อผันน้ำทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วมล้นเข้ามาให้ออกไป 3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลำน้ำ เพื่อให้น้ำที่ท่วมทะลักสามารถไหลไปตามลำน้ำได้สะดวก หรือช่วยให้กระแสน้ำไหลเร็วยิ่งขึ้น การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามพระราชดำริ "แก้มลิง" ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง 1. ดำเนินการระบายน้ำออกจากพื้นที่ตอนบน ให้ไหลลงคลองพักน้ำขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล 2. เมื่อระดับน้ำทะเลลดต่ำกว่าระดับน้ำในคลอง ก็ทำการระบายน้ำจากคลอง ดังกล่าว โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ 3. สูบน้ำออกจากคลองที่ทำหน้าที่ "แก้มลิง" นี้ เพื่อจะได้ทำให้น้ำตอนบนค่อยๆ ไหลมาเองตลอดเวลา ส่งผลให้ปริมาณน้ำท่วมพื้นที่ลดน้อยลง 4. เมื่อระดับน้ำทะเลสูงกว่าระดับน้ำในลำคลองให้ทำการปิดประตูระบายน้ำ โดยยึดหลักน้ำไหลลงทางเดียว (One Way Flow) หลักการ 3 ประเด็น ที่โครงการแก้มลิงจะสามารถมีประสิทธิภาพบรรลุผลสำเร็จตามแนวพระราชดำริคือ 1. การพิจารณาสถานที่ที่จะทำหน้าที่เป็นบ่อพัก และวิธีการชักนำน้ำท่วมไหลเข้าสู่บ่อพักน้ำ 2. เส้นทางน้ำไหลที่สะดวกต่อการระบายน้ำเข้าสู่แหล่งที่ทำหน้าที่บ่อพักน้ำ 3. การระบายน้ำออกจากบ่อพักน้ำอย่างต่อเนื่อง โครงการแก้มลิงฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ใช้คลองชายทะเลที่ตั้งอยู่ริมทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ทำหน้าที่เป็นบ่อพักน้ำหรือบ่อรับน้ำ โครงการแก้มลิงในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทำหน้าที่รับน้ำในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อระบายออกทะเลด้านจังหวัดสมุทรสาคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริเพื่อให้การระบายน้ำท่วมออกทะเลเร็วขึ้นด้วยวิธีการต่าง ๆ คือ โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง" ซึ่งใช้หลักการในการควบคุมน้ำในแม่น้ำท่าจีน คือ เปิดระบายน้ำจำนวนมากลงสู่อ่าวไทยเมื่อระดับน้ำทะเลต่ำ โครงการแก้มลิงแม่น้ำท่าจีนตอนล่างจะมีประสิทธิภาพสมบูรณ์ต้องดำเนินการครบระบบ 3 โครงการ ด้วยกัน คือ 1. โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง" 2. โครงการแก้มลิง "คลองมหาชัย-คลองสนามชัย" 3. โครงการแก้มลิง "คลองสุนัขหอน" โครงการแก้มลิงนับเป็นนิมิตรหมายอันเป็นสิ่งที่ชาวไทยทั้งหลายได้รอดพ้นจากทุกข์ภัยที่นำความเดือดร้อนแสนลำเค็ญมาสู่ชีวิตที่อบอุ่นปลอดภัย ซึ่งแนวพระราชดำริอันเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านน้ำท่วมนี้ มีพระราชดำริเพิ่มเติมว่า "...ได้ดำเนินการในแนวทางที่ถูกต้องแล้ว ขอให้รีบเร่งหาวิธีปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพต่อไป เพราะโครงการแก้มลิงในอนาคตจะสามารถช่วยพื้นที่ได้หลายพื้นที่..."
ประการแรก สร้างคันกั้นน้ำ โดยปรับปรุงแนวถนนเดิมประการที่สอง จัดให้มีพื้นที่สีเขียว (Green Belt) ตามพระราชดำริ เพื่อกันการขยายตัวของเมือง และเพื่อแปรสภาพให้เป็นทางระบายน้ำเมื่อมีน้ำหลาก ประการที่สาม ดำเนินการขุดลอกคลอง ขยายคลองที่มีอยู่เดิมและขุดใหม่นอกแนวคันกั้นน้ำ ประการที่สี่ สร้างสถานที่เก็บน้ำตามจุดต่าง ๆ ประการที่ห้า ขยายช่องทางรับน้ำที่ผ่านทางรถไฟและทางหลวง
วิธีการแก้ไขปัญหาน้ำท่วมในภูมิภาคต่าง ๆ คือ 1. การก่อสร้างคันกันน้ำ โดยการก่อสร้างคันดินกั้นน้ำขนานไปตามลำน้ำเพื่อป้องกันมิให้น้ำล้นตลิ่งไปท่วมในพื้นที่ต่าง ๆ ด้านใน 2. การก่อสร้างทางผันน้ำ เพื่อผันน้ำทั้งหมดหรือบางส่วนที่ล้นตลิ่งท่วมล้นเข้ามาให้ออกไป 3. การปรับปรุงและตกแต่งสภาพลำน้ำ เพื่อให้น้ำที่ท่วมทะลักสามารถไหลไปตามลำน้ำได้สะดวก หรือช่วยให้กระแสน้ำไหลเร็วยิ่งขึ้น การแก้ไขปัญหาน้ำท่วมพื้นที่ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลตามพระราชดำริ "แก้มลิง" ลักษณะและวิธีการของโครงการแก้มลิง 1. ดำเนินการระบายน้ำออกจากพื้นที่ตอนบน ให้ไหลลงคลองพักน้ำขนาดใหญ่ที่บริเวณชายทะเล 2. เมื่อระดับน้ำทะเลลดต่ำกว่าระดับน้ำในคลอง ก็ทำการระบายน้ำจากคลอง ดังกล่าว โดยใช้หลักการทฤษฎีแรงโน้มถ่วงของโลก (Gravity Flow) ตามธรรมชาติ 3. สูบน้ำออกจากคลองที่ทำหน้าที่ "แก้มลิง" นี้ เพื่อจะได้ทำให้น้ำตอนบนค่อยๆ ไหลมาเองตลอดเวลา ส่งผลให้ปริมาณน้ำท่วมพื้นที่ลดน้อยลง 4. เมื่อระดับน้ำทะเลสูงกว่าระดับน้ำในลำคลองให้ทำการปิดประตูระบายน้ำ โดยยึดหลักน้ำไหลลงทางเดียว (One Way Flow) หลักการ 3 ประเด็น ที่โครงการแก้มลิงจะสามารถมีประสิทธิภาพบรรลุผลสำเร็จตามแนวพระราชดำริคือ 1. การพิจารณาสถานที่ที่จะทำหน้าที่เป็นบ่อพัก และวิธีการชักนำน้ำท่วมไหลเข้าสู่บ่อพักน้ำ 2. เส้นทางน้ำไหลที่สะดวกต่อการระบายน้ำเข้าสู่แหล่งที่ทำหน้าที่บ่อพักน้ำ 3. การระบายน้ำออกจากบ่อพักน้ำอย่างต่อเนื่อง โครงการแก้มลิงฝั่งตะวันออกของแม่น้ำเจ้าพระยา ใช้คลองชายทะเลที่ตั้งอยู่ริมทะเลด้านจังหวัดสมุทรปราการ ทำหน้าที่เป็นบ่อพักน้ำหรือบ่อรับน้ำ โครงการแก้มลิงในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยา ทำหน้าที่รับน้ำในพื้นที่ฝั่งตะวันตกของแม่น้ำเจ้าพระยาเพื่อระบายออกทะเลด้านจังหวัดสมุทรสาคร พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้พระราชทานพระราชดำริเพื่อให้การระบายน้ำท่วมออกทะเลเร็วขึ้นด้วยวิธีการต่าง ๆ คือ โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง" ซึ่งใช้หลักการในการควบคุมน้ำในแม่น้ำท่าจีน คือ เปิดระบายน้ำจำนวนมากลงสู่อ่าวไทยเมื่อระดับน้ำทะเลต่ำ โครงการแก้มลิงแม่น้ำท่าจีนตอนล่างจะมีประสิทธิภาพสมบูรณ์ต้องดำเนินการครบระบบ 3 โครงการ ด้วยกัน คือ 1. โครงการแก้มลิง "แม่น้ำท่าจีนตอนล่าง" 2. โครงการแก้มลิง "คลองมหาชัย-คลองสนามชัย" 3. โครงการแก้มลิง "คลองสุนัขหอน" โครงการแก้มลิงนับเป็นนิมิตรหมายอันเป็นสิ่งที่ชาวไทยทั้งหลายได้รอดพ้นจากทุกข์ภัยที่นำความเดือดร้อนแสนลำเค็ญมาสู่ชีวิตที่อบอุ่นปลอดภัย ซึ่งแนวพระราชดำริอันเป็นทฤษฎีเกี่ยวกับการบริหารจัดการด้านน้ำท่วมนี้ มีพระราชดำริเพิ่มเติมว่า "...ได้ดำเนินการในแนวทางที่ถูกต้องแล้ว ขอให้รีบเร่งหาวิธีปรับปรุงและเพิ่มประสิทธิภาพต่อไป เพราะโครงการแก้มลิงในอนาคตจะสามารถช่วยพื้นที่ได้หลายพื้นที่..."
05 กรกฎาคม 2552
วันนี้ มีแต่นอนๆๆๆ
หลังจากที่เหน็ดเหนื่อย
เลยมีแต่นอนๆๆๆๆๆๆ
แถมตุกตาทหารเรือที่ตั้งใจจะนำมาถวายเสด็จเตี่ย ก็หายไปอีก เซ็งๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
เลยมีแต่นอนๆๆๆๆๆๆ
แถมตุกตาทหารเรือที่ตั้งใจจะนำมาถวายเสด็จเตี่ย ก็หายไปอีก เซ็งๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
04 กรกฎาคม 2552
ถึงสัตหีบ เรือหลวงจักรีนฤเบศ (ร.ล.911)
ออกเดินทางจาก ศิลาชล
จากนั้นก็นอนๆๆๆ ปล่อยคนอื่นร้องเพลงกัน (แอบดูโดเรม่อน ผ่านมือถือ i-mobile TV 535 ด้วย)
ตื่นขึ้นมาพบว่า คนอื่นๆลงไปเกือบหมดแล้ว (แถมยังโดนแอบถ่ายตอนนอนอีก)
พบกับ ผศ.สุรีย์ ไวยกุฬา อาจารย์แม่สุดที่รักของผมนั่นเอง
จากนั้นไปดูศูนย์อนุรักษ์เต่าทะเล ของ สอ.รฝ. กองทัพเรือ เห็นเต้าตัวเล้กๆ น่ารักมากๆๆๆๆ
จากนั้นก็ไปเขาชีจรรย์
แวะตลาดน้ำ 4 ภาค พัทยา
กินข้าวเย้นที่สิงห์บุรี
ลงรถที่สี่แยกปลวกสูง นั่งรถลุงชัยกลับมาพิษณุโลก
อาบน้ำ...นอน
จากนั้นก็นอนๆๆๆ ปล่อยคนอื่นร้องเพลงกัน (แอบดูโดเรม่อน ผ่านมือถือ i-mobile TV 535 ด้วย)
ตื่นขึ้นมาพบว่า คนอื่นๆลงไปเกือบหมดแล้ว (แถมยังโดนแอบถ่ายตอนนอนอีก)
พบกับ ผศ.สุรีย์ ไวยกุฬา อาจารย์แม่สุดที่รักของผมนั่นเอง
จากนั้นไปดูศูนย์อนุรักษ์เต่าทะเล ของ สอ.รฝ. กองทัพเรือ เห็นเต้าตัวเล้กๆ น่ารักมากๆๆๆๆ
จากนั้นก็ไปเขาชีจรรย์
แวะตลาดน้ำ 4 ภาค พัทยา
กินข้าวเย้นที่สิงห์บุรี
ลงรถที่สี่แยกปลวกสูง นั่งรถลุงชัยกลับมาพิษณุโลก
อาบน้ำ...นอน
03 กรกฎาคม 2552
ถึงประแสร์ และดูงานโรงเรียนบ้านกลางกร่ำ
รถไปถึง อ.แกลง ประมาณ 06.30 น.
รีบลงรถเพราะมีการอาการปวดท้องเหมือนจะท้องเสียมาตั้งแต่ตีสี่แล้ว ติ่นขึ้นมาเห็นข้างทางเป็นป่า ก็เลยไม่บอกให้หยุด
เข้าห้องน้ำ ล้างหน้า แปรงฟันแล้ว ก็ไปทานอาหารเช้า
กับข้าวที่นี่ สะอาด ใหม่ และทำมาร้อนๆ แต่ราคาก็แพงอยู่ (31 บาท ) ได้ข้าวมานิดเดียวเอง
ก็เลยคิดว่า กินกันตาย
ในร้านแต่บรรยากาศแบบเหนือๆ รู้สึกดีมาก
มีรูปปั้นเสือ พาปังคุงไปหลอก 555 สะใจ
จากนั้นเดินทางไปไหว้เสด็จเตี่ยที่ประแสร์ ตอนแรกนึกกว่าจะไม่ได้ไปเพราะฝนตกหนักมา แต่พอถึงเวลารถออก ฝนก็หยุด ถือว่าเป็นปาฏิปาริย์ของเสด็จเตี่ย ที่ดลบัลดาลให้คณะทัศนศึกษาได้ไปสักการะ
จากนั้นก้ไปดูงานที่โรงเรยนบ้านกลางกร่ำ สพท.ระยอง เขต 2
เป็นโรงเรียนประถม แต่มีเด้กนักเรียนเกือบ 400 คน
มีการจัดการศึกษาที่ดีมาก เอาระบบภาษาอังกฤษเข้ามาสอนควบคู่ด้วย (ทั้งครู ทั้งนักเรียน เรียมร่วมกัน)
จากนั้น ก็แวะไปที่ อนุสาวรีย์สุนทรภู่
และแล้วก็ถึงที่พักที่ "ศิลาชล" ชายหาดแม่รำพึง
บรรยากาศดี คนไม่พลุกพล่าน เล่นน้ำสนุก
รีบลงรถเพราะมีการอาการปวดท้องเหมือนจะท้องเสียมาตั้งแต่ตีสี่แล้ว ติ่นขึ้นมาเห็นข้างทางเป็นป่า ก็เลยไม่บอกให้หยุด
เข้าห้องน้ำ ล้างหน้า แปรงฟันแล้ว ก็ไปทานอาหารเช้า
กับข้าวที่นี่ สะอาด ใหม่ และทำมาร้อนๆ แต่ราคาก็แพงอยู่ (31 บาท ) ได้ข้าวมานิดเดียวเอง
ก็เลยคิดว่า กินกันตาย
ในร้านแต่บรรยากาศแบบเหนือๆ รู้สึกดีมาก
มีรูปปั้นเสือ พาปังคุงไปหลอก 555 สะใจ
จากนั้นเดินทางไปไหว้เสด็จเตี่ยที่ประแสร์ ตอนแรกนึกกว่าจะไม่ได้ไปเพราะฝนตกหนักมา แต่พอถึงเวลารถออก ฝนก็หยุด ถือว่าเป็นปาฏิปาริย์ของเสด็จเตี่ย ที่ดลบัลดาลให้คณะทัศนศึกษาได้ไปสักการะ
จากนั้นก้ไปดูงานที่โรงเรยนบ้านกลางกร่ำ สพท.ระยอง เขต 2
เป็นโรงเรียนประถม แต่มีเด้กนักเรียนเกือบ 400 คน
มีการจัดการศึกษาที่ดีมาก เอาระบบภาษาอังกฤษเข้ามาสอนควบคู่ด้วย (ทั้งครู ทั้งนักเรียน เรียมร่วมกัน)
จากนั้น ก็แวะไปที่ อนุสาวรีย์สุนทรภู่
และแล้วก็ถึงที่พักที่ "ศิลาชล" ชายหาดแม่รำพึง
บรรยากาศดี คนไม่พลุกพล่าน เล่นน้ำสนุก
02 กรกฎาคม 2552
เตรียมตัวเดินทางสู่ระยอง - สัตหีบ
วันนี้มีการเรียนการสอนตามปกติ
แต่ความตื่นเต้นที่จะได้ไปทัศนศึกษา มันไม่ได้ทำให้ความรู้สึกอื่นใดเกิดขึ้น
ผมนั่งเล่มคอมพิวเตอร์จนทุกคนในโรงเรียนกลับหมด และได้ทราบข่าวร้ายว่า มีนักเรียนขี่รถจักรยานยนต์ประสบอุบัติเหตุเล็กน้อย ทำให้ไม่สามารถร่วมเดินทางได้
เพื่อนอีกคนหนึ่งของนักเรียนคนนั้นซึ่งได้ถอนตัวไปก่อนหน้านี้ เพราะว่า ไปดวงมา หมอดุบอกว่า ให้ระวังช่วงอายุ 15 เด็กคนนั้นเลยไม่เดินทาง
เป็นอันว่า เกิดจากการดูดวง ...เลยไม่ได้ไปด้วย
เมื่อถึงเวลา นักเรียนที่นับๆๆๆๆ กันมาว่า 30 กว่าคน กลับเหลือเพียง 22 คน
เพราะผู้ปกครองกลัวไข้หวัด 2009 กัน (กลัวที่สัตหีบ เพราะเพิ่มมีข่าวทหารเรือเสียชีวิต) จำนวนเด็กเลยน้อยลง
เมื่อรถมาถึง นักเรียนก็ร้องเพลงจนถึงนครสวรรค์ จากนั้นก็ผลัดเปลี่ยนกันร้องระหว่างครู - นักเรียน
ผมเองก็หลับๆตื่น ดีนะที่ซื้อที่อุดหูไป ไม่งั้น แย่แน่ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
แต่ความตื่นเต้นที่จะได้ไปทัศนศึกษา มันไม่ได้ทำให้ความรู้สึกอื่นใดเกิดขึ้น
ผมนั่งเล่มคอมพิวเตอร์จนทุกคนในโรงเรียนกลับหมด และได้ทราบข่าวร้ายว่า มีนักเรียนขี่รถจักรยานยนต์ประสบอุบัติเหตุเล็กน้อย ทำให้ไม่สามารถร่วมเดินทางได้
เพื่อนอีกคนหนึ่งของนักเรียนคนนั้นซึ่งได้ถอนตัวไปก่อนหน้านี้ เพราะว่า ไปดวงมา หมอดุบอกว่า ให้ระวังช่วงอายุ 15 เด็กคนนั้นเลยไม่เดินทาง
เป็นอันว่า เกิดจากการดูดวง ...เลยไม่ได้ไปด้วย
เมื่อถึงเวลา นักเรียนที่นับๆๆๆๆ กันมาว่า 30 กว่าคน กลับเหลือเพียง 22 คน
เพราะผู้ปกครองกลัวไข้หวัด 2009 กัน (กลัวที่สัตหีบ เพราะเพิ่มมีข่าวทหารเรือเสียชีวิต) จำนวนเด็กเลยน้อยลง
เมื่อรถมาถึง นักเรียนก็ร้องเพลงจนถึงนครสวรรค์ จากนั้นก็ผลัดเปลี่ยนกันร้องระหว่างครู - นักเรียน
ผมเองก็หลับๆตื่น ดีนะที่ซื้อที่อุดหูไป ไม่งั้น แย่แน่ๆๆๆๆๆๆๆๆๆๆ
01 กรกฎาคม 2552
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ให้คะแนนข้อเขียนนี้...คุณจะให้กี่ดาวดีจ๊ะ